เป้าหมายหลัก

เป้าหมายหลัก
1.
รู้และเข้าใจธรรมชาติของการดำรงชีวิต
2.
เข้าใจการเจริญเติบโตอันอาศัยการเกื้อกูลกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว และสามารถแก้ปัญหาได้
3.
เข้าใจลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต



วันพุธที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2557


Topic : ชีวิตมหัศจรรย์
เป้าหมายรายสัปดาห์: เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค แล้วนำไปใช้ประโยชน์ได้
Week
Input
Process ( PBL )
Out put
Out come

9.

โจทย์:
- ตุ๊กตาจินตนาการ

คำถาม:
- นักเรียนเห็นอะไรบ้าง และคิดว่าอย่างไรกับสิ่งที่เห็น
- นักเรียนสามารถสร้างหรือทำขึ้นเองได้หรือไม่
- ของสิ่งนี้ทำมาจากอะไร
- วัตถุดิบชนิดนี้ทำไมถึงยึดเกาะกันได้
- คุณสมบัติของวัสดุต่างๆแตกต่างกันอย่างไร
- นักเรียนคิดเห็นอย่างไรเพราะเหตุใด
- นักเรียนจะค้นหาข้อมูลจากแหล่งใหนบ้าง อย่างไร

เครื่องมือคิด:
- Round Rubin แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เห็น
- Web คุณสมบัติของสาร
- Show and Share สิ่งที่ได้ค้นหา
- Show and Share ผลงาน
- Brainstorms ปัญหาที่เกิดจากการทำกิจกรรม
- Flow Chart สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน


บรรยากาศ/สื่อ:
- ปูนปลาสเตอร์ พร้อมพิมม์
- สี
- อุปกรณ์ เครื่องมืออื่นๆ
- ครู นักเรียน








ชง:
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
- นักเรียนเห็นอะไรบ้าง และคิดว่าอย่างไรกับสิ่งที่เห็น
- นักเรียนสามารถสร้างหรือทำขึ้นเองได้หรือไม่
- ของสิ่งนี้ทำมาจากอะไร

เชื่อม :
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เห็นอยู่ตรงหน้า ( Round Rubin )
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน แล้วร่วมระดมสมองกันเกี่ยวกับสิ่งที่เห็น ว่าเกิดจากวัตถุดิบชนิดใด (Brainstorms)

ชง:
ครูใช้คำถามกระตุ้น
- วัตถุดิบชนิดนี้ทำไมถึงยึดเกาะกันได้
- คุณสมบัติของวัสดุต่างๆแตกต่างกันอย่างไร
- นักเรียนคิดเห็นอย่างไรเพราะเหตุใด
- นักเรียนจะค้นหาข้อมูลจากแหล่งใหนบ้าง อย่างไร

เชื่อม :
- นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการสังเกตุวัตถุดิบต่างๆและหลังจากที่ได้ค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ( Round Rubin )
- นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน แล้วร่วมระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับการค้นหาข้อมูล (Brainstorms)

ใช้:
- นักเรียนออกแบบวางแผนการทำงาน
- นักเรียนลงมือปฏิบัติการตามแผนที่ได้วางไว้เกี่ยวกับการหล่อตุ๊กตาปูนปลาสเตอร์
-
นักเรียนนำเสนอชิ้นงานของตนเองหน้าชั้นเรียน (Show and Share)
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
- นักเรียนสรุปความเข้าใจรายสัปดาห์








ชิ้นงาน:
-
แผนในการสร้างและประดิษฐ์ตุ๊กตา
-
ผลงานนักเรียน (ตุ๊กตา หรือ หุ่นที่ได้จาการหล่อจากยางพารา)
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์

ภาระงาน :
- พูดคุยแสดงความคิดเห็น
-
ออกแบบวางแผนการประดิษฐ์ชิ้นงาน และเตรียมอุปกรณ์
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน





ความรู้:
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี โดยคำนึงถึงคุณค่าที่จะเกิดขึ้น
-
รู้จักประโยชน์ของวัสดุต่างๆ การเกิดปฏิกิริยาของสาร การเปลี่ยนรูปร่างของของเหลวกลายเป็นของแข็ง ข้อมูลเชิงลึกของวัสดุช่างต่างๆ
-
ตระหนัก/เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-รู้ประโยชน์และโทษที่อาจขึ้นได้จากอุปกรณ์ที่สร้างขึ้น
-
รู้จักการแบ่งปัน
-
มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
-
เข้าใจวิธีป้องกัน ในการใช้อุปกรณ์ประดิษฐ์ชิ้นงาน

ทักษะ:
- เป็นคนช่างสังเกต มองเห็ปัญหา และแนวทางการแก้ไข
-
คิดค้นหาวิธีอย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา
-
รู้จักปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่น
-
นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
-
สามารถแก้ปัญหา ให้เหตุผล
สื่อความหมาย และการนำเสนอชิ้นงาน

คุณลักษณะ:
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง เคารพและให้เกียรติผู้อื่น
-
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และการรู้จักแก้ไขปัญหา
-
มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
- มีกระบวนการทำงานเป็นขั้นตอน
- คุณธรรม จริยธรรม







ผสมปูนปลาสเตอร์เพื่อทำการหล่อตุ๊กตา







ครูประจำชั้นสาธิตการหล่อแม่พิมม์


แต่งเสริมเพิ่มสวยด้วยการทาสี




































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น