Topic
: ชีวิตมหัศจรรย์
เป้าหมายรายสัปดาห์:
เข้าใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิตและเห็นคุณค่าของธรรมชาติ
|
||||
Week
|
Input
|
Process
( PBL )
|
Out
put
|
Out
come
|
3.
|
โจทย์:
-
การเจริญเติบโตของถั่วเขียว
คำถาม:
-
ทำไมพืชแต่ละชนิดถึงใช้เวลาเจริญเติบโตไม่เท่ากัน
-
องค์ประกอบของการเจริญเติบโตของพืชคืออะไร
-
ผลการทดลองนี้นำไปเปรียบเทียบกับสิ่งมีชีวิตอื่นได้อย่างไร
เครื่องมือคิด:
-
Round Rubin แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการเกิดของสิ่งมีชีวิต
-
Think Pair Share แผนการทดลอง
-
show and share ชิ้นงาน
-
ปัญหาที่เกิดจากการทำกิจกรรม
-
flow chartสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการทดลอง
-
Wall Thinking ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
-
ครู
-
นักเรียน
บรรยากาศ/สื่อ:
-
วัสดุจากธรรมชาติ
-
ครู/นักเรียน
-
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
-
เมล็ดถั่ว
|
ชง:
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-
ทำไมพืชแต่ละชนิดถึงใช้เวลาเจริญเติบโตไม่เท่ากัน
เชื่อม
:
-
นักเรียนระดมความคิดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในกลุ่ม
ชง:
ครูตั้งคำถามกระตุ้นด้วยปัญหา
-
หากไม่มีน้ำ
พืชจะเจริญเติบโตได้หรือไม่
-
หากไม่มีออกซิเจน
พืชจะใช้อะไรในการสังเคราะห์แสง
เชื่อม
:
-
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน
-
ครูและนักเรียนทำการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย
-
ทดลองปลูกถั่วงอก
-
บันทึกผล
ชง:
-
นักเรียนเห็นอะไรบ้างและรู้สึกอย่างไร
-
ผลการทดลองนี้นำไปเปรียบเทียบกับสิ่งมีชีวิตอื่นได้อย่างไร
เชื่อม
:
-
นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีแก้ไขปัญหา
และตอบคำถาม
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ใช้:
-
นักเรียนออกแบบวางแผนการทดลอง
- นักเรียนเสนอแนะและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
-
นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับโครงงานที่จะเรียน
-
ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
|
ชิ้นงาน:
- การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากสิ่งที่ได้ทำ
-
การตอบคำถาม
-
สรุปผลการทดลอง
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
:
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็น
-
ออกแบบวางแผนการประดิษฐ์ชิ้นงาน
และเตรียมอุปกรณ์
-
ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้:
-
รู้จัก
และเข้าใจการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
-
เข้าใจความสำคัญขององค์ประกอบต่างๆที่มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
-
ตระหนัก/เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- รู้จักการแบ่งปัน - มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา - เข้าใจวิธีป้องกัน ในการใช้วัสดุอุปกรณ์
ทักษะ:
-
เป็นคนช่างสังเกต
มองเห็นปัญหา และแนวทางการแก้ไข
- คิดค้นหาวิธีอย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา - รู้จักปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่น - นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
-
สามารถแก้ปัญหา
ให้เหตุผล
สื่อความหมาย และการนำเสนอชิ้นงาน
คุณลักษณะ:
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
เคารพและให้เกียรติผู้อื่น
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และการรู้จักแก้ไขปัญหา - มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
-
มีกระบวนการทำงานเป็นขั้นตอน
-
คุณธรรม
จริยธรรม
|
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ(Problem Based Learning) PBL : โรงเรียนบ้านสุขเกษม(สาขาคำม่วงไข่) จังหวัดยโสธร
เป้าหมายหลัก
เป้าหมายหลัก
1. รู้และเข้าใจธรรมชาติของการดำรงชีวิต
2. เข้าใจการเจริญเติบโตอันอาศัยการเกื้อกูลกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว และสามารถแก้ปัญหาได้
3. เข้าใจลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
week 3
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
สัปดาห์ที่ 3 : คุณธรรมจริยธรรมสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลา แม้กระทั่งขณะที่ได้มีการร่วมกันทำกิจกรรม โดยที่ครูไม่จำเป็นต้องพร่ำสอนอยู่เสมอ ตัวอย่างที่พบเห็นก็คือ ในระหว่างที่พี่ ป.3 ป.4 ได้มีการปลูกถั่วเขียวซึ่งจุดประสงค์ก็คือ เพื่อที่จะให้เด็กนักเรียนได้เห็นการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โดยที่ถั่วจะเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้เร็วกว่าพืชชนิดอื่น จึงเหมาะกับการทดลอง เมื่อถึงช่วงเวลาที่ต้องมีการไม่ให้น้ำ ไม่ให้มีอากาศ เด็กๆรู้สึกได้ว่า มันจะต้องตายเป็นแน่แท้ จึงไม่อยากทำ ไม่อยากให้มันตาย เพราะสงสารต้นถั่ว ก็เป็นที่น่าสงสารเช่นกัน จนในที่สุดก็ผ่านพ้นไปได้ คุณธรรมจึงเป็นสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจของเด็กโดยที่ครูจะเป็นผู้ที่จะทำให้เด็กนั้นแสดงออกมาได้มากน้อยเพียงใดเท่านั้นเอง
ตอบลบ