Topic
: ชีวิตมหัศจรรย์
เป้าหมายรายสัปดาห์:
นักเรียนสามารถทำของใช้ในชีวิตประจำวันจากวัสดุเหลือใช้
หรือขยะให้มีประโยชน์มากขึ้นอย่างไร
|
||||
Week
|
Input
|
Process
( PBL )
|
Out
put
|
Out
come
|
8.
|
โจทย์:
-
ออกแบบประดิษฐ์ของใช้ในชีวิตประจำวันจากขยะหรือสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว
คำถาม:
-
นักเรียนเห็นอะไรบ้าง
และคิดว่าอย่างไรกับสิ่งที่เห็น
-
นอกจากของเล่น
นักเรียนสามารถทำของใช้ในชีวิตประจำวันอะไรได้บ้าง
-
ของใช้ในชีวิตประจำวันที่เราสร้างขึ้นใช้งานได้หรือไม่และมีโอกาสเกิดอันตรายมากน้อยเพียงไร
อย่างไร
-
นักเรียนคิดเห็นอย่างไรเพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด:
-
Round
Rubin แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว
-
Web วิธีทำของใช้ในชีวิตประจำวัน
-
Show and Share แผนในการประดิษฐ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
-
Show and Share ชิ้นงานที่ทำ
-
Brainstorms ปัญหาที่เกิดจากการทำกิจกรรม
-
Flow Chart สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
-
Wall Thinking ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
-
ครู
-
นักเรียน
บรรยากาศ/สื่อ:
-
วัสดุ
สิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้
-
ครู
นักเรียน
-
อุปกรณ์
เครื่องมือ
|
ชง:
ครูให้นักเรียนนำสิ่งของ
อะไรก็ได้ที่ไม่ใช้แล้วมาจากบ้าน
หรือจะเป็นขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ก็ได้อย่างน้อย
1
ชิ้น
จากนั้นตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-
นักเรียนเห็นอะไรบ้างจากสิ่งที่นำมารวมกัน
และรู้สึกอย่างไร
-
สิ่งของเหล่านี้นำมาทำของใช้อื่นนอกจากของเล่นได้หรือไม่
ถ้าได้มีอะไรบ้าง
-
ของใช้ในชีวิตประจำวันที่เราสร้างขึ้นใช้งานได้หรือไม่และมีโอกาสเกิดอันตรายมากน้อยเพียงไร
อย่างไร
-
นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร
เพราะเหตุใด
เชื่อม
:
-
นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการ
การแก้ไขปัญหา
วิธีคิดที่แตกต่าง (
Round Rubin )
- นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน แล้วร่วมระดมสมองร่วมกันเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันจากสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว (Brainstorms)
ใช้:
-
นักเรียนออกแบบวางแผนการทำของใช้ในชีวิตประจำวันจากวัสดุที่ไม่ใช้แล้วหรือขยะรีไซเคิล
(Web)
- นักเรียนนำเสนอชิ้นงานของตนเองหน้าชั้นเรียน (Show and Share)
-
ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
|
ชิ้นงาน:
- แผนในการสร้างและประดิษฐ์ของใช้ในชีวิตประจำวันจากสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว - สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
ภาระงาน
:
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็น
- ออกแบบวางแผนการประดิษฐ์ชิ้นงาน และเตรียมอุปกรณ์
-
ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
|
ความรู้:
-
ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ใช้แล้วหรือขยะ
โดยคำนึงถึงคุณค่าที่มีมากกว่า
- รู้จักการสร้างประโยชน์จาก
ขยะหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ใช้แล้ว
-การเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ใช้แล้ว
-
ตระหนัก/เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-รู้ประโยชน์และโทษที่อาจขึ้นได้จากอุปกรณ์ที่สร้างขึ้น
- รู้จักการแบ่งปัน - มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา - เข้าใจวิธีป้องกัน ในการใช้อุปกรณ์ประดิษฐ์ชิ้นงาน
ทักษะ:
-
เป็นคนช่างสังเกต
มองเห็นปัญหา
และแนวทางการแก้ไข
- คิดค้นหาวิธีอย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา - รู้จักปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่น - นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น - สามารถแก้ปัญหา ให้เหตุผล สื่อความหมาย และการนำเสนอชิ้นงาน
คุณลักษณะ:
-
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
เคารพและให้เกียรติผู้อื่น
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และการรู้จักแก้ไขปัญหา - มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
-
มีกระบวนการทำงานเป็นขั้นตอน
-
คุณธรรม
จริยธรรม
|
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ(Problem Based Learning) PBL : โรงเรียนบ้านสุขเกษม(สาขาคำม่วงไข่) จังหวัดยโสธร
เป้าหมายหลัก
เป้าหมายหลัก
1. รู้และเข้าใจธรรมชาติของการดำรงชีวิต
2. เข้าใจการเจริญเติบโตอันอาศัยการเกื้อกูลกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว และสามารถแก้ปัญหาได้
3. เข้าใจลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
week 8
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
สัปดาห์ที่ 8 : การเรียนรู้ในสัปดาห์นี้เป็นการยกระดับคุณค่าของขยะขึ้นมาอีก มีการทำขยะให้เป็นของใช้ซึ่งจะสามารถใช้งงานได้จริง ความร่วมมือของเด็กๆเริ่มดีขึ้นจากช่วงแรกๆที่มีการเล่น และเห็นแก่ตัวมากเกินไป มีการแบ่งงานออกเป็นส่วนๆ เริ่มเป็นระบบมากขึ้น ความรู้ที่ได้เป็นการค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากในหนังสือเรียนและหนังสือที่ห้องสมุดมีไม่เพียงพอ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการค้นคว้าก็มีครบ เช่น ไอแพด คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นสิ่งหนึ่งที่จะทำให้นักเรียนได้ออกสู่โลกกว้าง การเพิ่มความระมัดระวังอันตรายจากการใช้เครื่องมือของเด็กๆ ก็เป็นส่วนหนึ่งในการเรียนรู้ แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการที่เกิดขึ้น ผลงานที่ได้ที่มีความประณีตมากยิ่งขึ้นก็แสดงให้เห็นถึงความชำนาญที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมอีกด้วยเช่นกัน
ตอบลบ